ส่วนที่ ๑ ความรู้สํา หรับครู เป็นส่วนที่ให้ความรู้ความเข้าใจ เป็นการเตรียมความรู้
ให้แก่ครูเพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจสาระสํา คัญ และหลักการของเรื่องที่สอนอย่างถูกต้องตาม
หลักวิชาการ
ส่วนที่ ๒ แนวทางการจัดการเรียนรู้ เป็นการนํา เสนอขั้นตอนการจัดการเรียนรู้
พร้อมสื่อการเรียนรู้และการวัดและประเมินผลการเรียนรู้โดยเป็นการวัดผลระหว่างเรียนเพื่อพัฒนา
การเรียนการสอน (Formative test) ซึ่งสอดแทรกระหว่างการจัดการเรียนรู้เป็นการบันทึกผลจาก
การฝึกทักษะการอ่านและการเขียนในระหว่างเรียนเพื่อให้ครูได้ใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้
ส่วนที่ ๓ แนวทางการวัดและประเมินผลประจํา หน่วย เป็นการนํา เสนอตัวอย่าง
การวัดและประเมินผลประจํา หน่วย เพื่อตัดสินว่าหลังการจัดการเรียนรู้ครบตามหน่วยนั้นแล้ว
นักเรียนมีความรู้ความสามารถตามจุดประสงค์การเรียนรู้ในหน่วยนั้นในระดับใด ซึ่งนําผลจากการวัด
มาตรวจสอบความสามารถในการอ่านและเขียนในหน่วยนั้น ๆ
พร้อมสื่อการเรียนรู้และการวัดและประเมินผลการเรียนรู้โดยเป็นการวัดผลระหว่างเรียนเพื่อพัฒนา
การเรียนการสอน (Formative test) ซึ่งสอดแทรกระหว่างการจัดการเรียนรู้เป็นการบันทึกผลจาก
การฝึกทักษะการอ่านและการเขียนในระหว่างเรียนเพื่อให้ครูได้ใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้
ส่วนที่ ๓ แนวทางการวัดและประเมินผลประจํา หน่วย เป็นการนํา เสนอตัวอย่าง
การวัดและประเมินผลประจํา หน่วย เพื่อตัดสินว่าหลังการจัดการเรียนรู้ครบตามหน่วยนั้นแล้ว
นักเรียนมีความรู้ความสามารถตามจุดประสงค์การเรียนรู้ในหน่วยนั้นในระดับใด ซึ่งนําผลจากการวัด
มาตรวจสอบความสามารถในการอ่านและเขียนในหน่วยนั้น ๆ
6 คู่มือการสอนอ่านเขียน โดยการแจกลูกสะกดคํา
ส่วนที่ ๑ ความรู้สํา หรับครู
จุดประสงค์ของความรู้สํา หรับครู เป็นสาระสํา คัญสํา หรับให้ครูได้ศึกษา ให้มีความรู้
ความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับหลัการใช้ภาษาที่เป็นพื้นฐานสํา คัญของการจัดการเรียนรู้แต่ละหน่วย
รวมทั้งเพื่อนํา เสนอขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ของแต่ละหน่วยตามแบบการแจกลูกสะกดคํา เพื่อให้
ครูดํา เนินการตามได้อย่างเป็นระบบ เพื่อให้นักเรียนอ่านและเขียนได้
ส่วนที่ ๑ ความรู้สํา หรับครู
จุดประสงค์ของความรู้สํา หรับครู เป็นสาระสํา คัญสํา หรับให้ครูได้ศึกษา ให้มีความรู้
ความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับหลัการใช้ภาษาที่เป็นพื้นฐานสํา คัญของการจัดการเรียนรู้แต่ละหน่วย
รวมทั้งเพื่อนํา เสนอขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ของแต่ละหน่วยตามแบบการแจกลูกสะกดคํา เพื่อให้
ครูดํา เนินการตามได้อย่างเป็นระบบ เพื่อให้นักเรียนอ่านและเขียนได้
ส่วนที่ ๒ แนวทางการจัดการเรียนรู้
จุดประสงค์ของส่วนที่ ๒ นี้คือ เพื่อเป็นตัวอย่างให้ครูนํา ไปประยุกต์ใช้ตามความเหมาะสม
และบริบทของสถานศึกษา ในหัวข้อนี้ประกอบด้วย
จุดประสงค์ของส่วนที่ ๒ นี้คือ เพื่อเป็นตัวอย่างให้ครูนํา ไปประยุกต์ใช้ตามความเหมาะสม
และบริบทของสถานศึกษา ในหัวข้อนี้ประกอบด้วย
ตัวอย่างแนวการจัดการเรียนรู้
๑. ระบุชื่อหน่วยและเวลาที่ใช้ในแต่ละหน่วย โดยผู้นํา ไปใช้สามารถปรับเปลี่ยนได้ตาม
ความเหมาะสม เวลาที่กํา หนดไว้เป็นการกํา หนดโดยประมาณเท่านั้น
๒. จุดประสงค์ของการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้ครูกํา หนดว่า เมื่อสอนหน่วยนี้แล้ว
ผู้เรียนต้องมีความรู้ความเข้าใจและมีความสามารถในการอ่านและเขียนตามจุดประสงค์ของหน่วยนั้น
ในระดับใด ซึ่งแนวทางการจัดการเรียนรู้สามารถนํา ไปประยุกต์ใช้กับการสอนภาษาไทยตามหลักสูตร
โดยการกํา หนดจุดประสงค์ของการจัดการเรียนรู้ที่พิจารณาจากจุดประสงค์การเรียนรู้ในหลักสูตร
๓. แนวทางการจัดการเรียนรู้เพื่อให้เห็นว่าหน่วยนี้แบ่งการสอนเป็นขั้นตอนในการจัด
การเรียนรู้ได้กี่ครั้ง แต่ละครั้งใช้เวลาครั้งละ ๑ ชั่วโมง ครูสามารถปรับเปลี่ยนจํา นวนครั้งและเวลาได้
ตามความเหมาะสมและการนํา ไปใช้ของครูแต่ต้องให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ที่กํา หนด
๔. แนวการจัดการเรียนรู้ที่ ๑ ทุกหน่วยจะเขียนตัวอย่างแนวทางการจัดการเรียนรู้ไว้ให้
๑ เรื่อง ประกอบด้วย
๔.๑ จุดประสงค์การเรียนรู้(ระบุผลลัพธ์ที่เกิดจากการเรียนรู้เฉพาะเรื่องที่สอนในชั่วโมงนั้น)
๔.๒ ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้เสนอให้เห็นขั้นตอนการสอนตั้งแต่
ขั้นนํา : มีจุดประสงค์เพื่อสร้างความสนใจและทบทวนความรู้ที่เชื่อมโยงกับ
หัวข้อที่จะเรียนต่อไป
๑. ระบุชื่อหน่วยและเวลาที่ใช้ในแต่ละหน่วย โดยผู้นํา ไปใช้สามารถปรับเปลี่ยนได้ตาม
ความเหมาะสม เวลาที่กํา หนดไว้เป็นการกํา หนดโดยประมาณเท่านั้น
๒. จุดประสงค์ของการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้ครูกํา หนดว่า เมื่อสอนหน่วยนี้แล้ว
ผู้เรียนต้องมีความรู้ความเข้าใจและมีความสามารถในการอ่านและเขียนตามจุดประสงค์ของหน่วยนั้น
ในระดับใด ซึ่งแนวทางการจัดการเรียนรู้สามารถนํา ไปประยุกต์ใช้กับการสอนภาษาไทยตามหลักสูตร
โดยการกํา หนดจุดประสงค์ของการจัดการเรียนรู้ที่พิจารณาจากจุดประสงค์การเรียนรู้ในหลักสูตร
๓. แนวทางการจัดการเรียนรู้เพื่อให้เห็นว่าหน่วยนี้แบ่งการสอนเป็นขั้นตอนในการจัด
การเรียนรู้ได้กี่ครั้ง แต่ละครั้งใช้เวลาครั้งละ ๑ ชั่วโมง ครูสามารถปรับเปลี่ยนจํา นวนครั้งและเวลาได้
ตามความเหมาะสมและการนํา ไปใช้ของครูแต่ต้องให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
ที่กํา หนด
๔. แนวการจัดการเรียนรู้ที่ ๑ ทุกหน่วยจะเขียนตัวอย่างแนวทางการจัดการเรียนรู้ไว้ให้
๑ เรื่อง ประกอบด้วย
๔.๑ จุดประสงค์การเรียนรู้(ระบุผลลัพธ์ที่เกิดจากการเรียนรู้เฉพาะเรื่องที่สอนในชั่วโมงนั้น)
๔.๒ ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้เสนอให้เห็นขั้นตอนการสอนตั้งแต่
ขั้นนํา : มีจุดประสงค์เพื่อสร้างความสนใจและทบทวนความรู้ที่เชื่อมโยงกับ
หัวข้อที่จะเรียนต่อไป
คู่มือการสอนอ่านเขียน โดยการแจกลูกสะกดคํา 7
ขั้นสอน: เสนอแนวทางการจัดเรียนรู้ให้ไว้เป็นตัวอย่างโดยครูสามารถปรับเปลี่ยน
สื่อได้ตามความเหมาะสม แต่จุดเน้นของการจัดการเรียนรู้ต้องการให้นักเรียนได้ฝึกทักษะการอ่านและ
การเขียนเป็นหลัก
ขั้นสอน: เสนอแนวทางการจัดเรียนรู้ให้ไว้เป็นตัวอย่างโดยครูสามารถปรับเปลี่ยน
สื่อได้ตามความเหมาะสม แต่จุดเน้นของการจัดการเรียนรู้ต้องการให้นักเรียนได้ฝึกทักษะการอ่านและ
การเขียนเป็นหลัก
ขั้นสรุป: เป็นขั้นการทบทวนให้นักเรียนเข้าใจในเรื่องที่สอน
๔.๓ สื่อการสอน เป็นการเสนอแนะสื่อที่ใช้ในการสอนของชั่วโมงนั้น ๆ
๔.๔ การวัดและประเมินผล เป็นการเสนอวิธีการวัดและประเมินผลการฝึกทักษะ
การอ่านและการเขียนระหว่างเรียนของนักเรียนเป็นรายบุคคล
ตัวอย่างแนวการจัดการเรียนรู้ที่ ๒ และต่อ ๆ ไป เป็นการนํา เสนอจุดประสงค์การเรียนรู้
ของหน่วยนั้น และแนวทางการจัดการเรียนรู้อย่างกว้าง ๆ เพื่อให้ครูผู้สอนได้นํา ไปประยุกต์ใช้ได้
และบางหน่วยได้เสนอแนะแนวทางการจัดการเรียนรู้ไว้จนครบทุกขั้นตอน
ส่วนที่ ๓ การวัดและประเมินผลประจํา หน่วย
การวัดและประเมินผลประจํา หน่วย เป็นการประเมินตามจุดประสงค์ของการเรียนรู้
ประจํา หน่วย เพื่อตัดสินผลการเรียนของหน่วยนั้น โดยจะกํา หนด
๑. แบบวัดตามจุดประสงค์ของหน่วยนั้น
๒. วิธีการวัด
๓. เกณฑ์การประเมิน
๔.๓ สื่อการสอน เป็นการเสนอแนะสื่อที่ใช้ในการสอนของชั่วโมงนั้น ๆ
๔.๔ การวัดและประเมินผล เป็นการเสนอวิธีการวัดและประเมินผลการฝึกทักษะ
การอ่านและการเขียนระหว่างเรียนของนักเรียนเป็นรายบุคคล
ตัวอย่างแนวการจัดการเรียนรู้ที่ ๒ และต่อ ๆ ไป เป็นการนํา เสนอจุดประสงค์การเรียนรู้
ของหน่วยนั้น และแนวทางการจัดการเรียนรู้อย่างกว้าง ๆ เพื่อให้ครูผู้สอนได้นํา ไปประยุกต์ใช้ได้
และบางหน่วยได้เสนอแนะแนวทางการจัดการเรียนรู้ไว้จนครบทุกขั้นตอน
ส่วนที่ ๓ การวัดและประเมินผลประจํา หน่วย
การวัดและประเมินผลประจํา หน่วย เป็นการประเมินตามจุดประสงค์ของการเรียนรู้
ประจํา หน่วย เพื่อตัดสินผลการเรียนของหน่วยนั้น โดยจะกํา หนด
๑. แบบวัดตามจุดประสงค์ของหน่วยนั้น
๒. วิธีการวัด
๓. เกณฑ์การประเมิน